การพูดถึง ‘ดาไลลามะ’ ทางออนไลน์ทำให้ความขัดแย้งที่เคยมีมาอย่างยาวนานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ทิเบตปะทุขึ้นมาอีกครั้ง และส่งเสริมการคำบอกเล่าของรัฐบาลจีน
ดาไลลามะเผชิญกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์ในวงกว้าง หลังมีวิดีโอที่เขาให้เด็กชายดูดลิ้นเขาปรากฏขึ้นบนสื่อออนไลน์ และดาไลลามะก็ออกมาแสดงความเสียใจตั้งแต่ช่วงเวลานั้น
แต่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ยังนำพาไปถึงเรื่องที่กล่าวหาว่า ดาไลลามะมีส่วนรู้เห็นในการ ‘ใช้ทาส’ โดยใช้คำจำกัดความที่มีข้อโต้แย้งอย่างมากโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลจีนซึ่ง นอกจากนี้ ยังมีข้อกังวลว่าดราม่าดาไลลามะนี้จะเป็นการกระตุ้นชาวเน็ตในโลกออนไลน์ให้มีความรู้สึกต่อต้านทิเบต
นักเคลื่อนไหวกล่าวว่า ประเด็นการพูดคุยเรื่องนี้ มีมานานแล้วในโลกออนไลน์ ข้อมูลที่เผยแพร่โดยบัญชีผู้ใช้ที่สนับสนุนจีนในตอนนี้กำลังดึงผู้ชมในวงที่กว้างขึ้น เนื่องจากการโต้เถียงเรื่องวิดีโอนี้ทำให้ทิเบตกลับมาเป็นจุดสนใจของโลกอีกครั้ง
แต่ลักษณะของสังคมทิเบตและการผนวกกับจีน เป็นความขัดแย้งมาช้านาน และสะท้อนสำนวนโวหารของรัฐบาลจีน
จีนส่งเสริมเรื่องเล่าที่บอกว่าตนปลดปล่อย ‘ข้าแผ่นดินและทาส’ จากระบอบการปกครองที่โหดร้าย กำหนดทิศทางของทิเบตบนเส้นทางแห่งความทันสมัย และพัฒนาชีวิตชาวทิเบตอย่างมากมาย นอกจากนี้ยังกล่าวหาดาไลลามะว่าเป็นผู้นำในการก่อจลาจลที่ล้มเหลวในปี 1959 เพื่อรักษาระบบข้าแผ่นดินตามระบอบของพระเจ้า
เหตุการณ์จบลงด้วยการที่จีนเข้ายึดครองทิเบตและสลายสิ่งที่พวกเขากล่าวว่าเป็นระบบศักดินา ในปี 2009 จีนได้กำหนด ‘วันปลดแอกชาวทิเบต’ ประจำปีเพื่อรำลึกถึงวันครบรอบ 50 ปีของการปราบปรามการจลาจล
ในช่วงไม่กี่สัปดาห์มานี้ Global Times สื่อของรัฐของจีนได้ขยายเรื่องราวนี้อีกครั้งโดยนำเสนออินโฟกราฟิกเปรียบเทียบชีวิตก่อนและหลัง ‘การปลดปล่อยอย่างสันติ’ ของทิเบต แม้ว่ารัฐบาลของทิเบตจะโต้แย้งคำว่า ‘ศักดินา’ แต่นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่าสังคมของทิเบตมองว่าผู้คนทำงานในที่ดินของขุนนาง อาราม หรือรัฐ และจ่ายภาษีให้กับพวกเขา
มีการถกเถียงกันว่าจะอธิบายคนเหล่านี้อย่างไร เนื่องจากคำนี้สามารถเป็นได้ทั้ง ‘ข้าแผ่นดิน’ และ ‘ทาส’ แต่ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ไม่ได้มองว่าพวกเขาเป็นทาสที่สามารถซื้อขายได้
“ทิเบตไม่เคยมีคำว่า 'ทาส' คนเหล่านี้ไม่ใช่สินค้า ... มันเหมือนกับความสัมพันธ์แบบ 'ชาวนากับเจ้านาย'” เสริง ชาร์กยา นักประวัติศาสตร์ทิเบตแห่งมหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบียกล่าว
ชาร์กยา กล่าวว่า ตามประวัติศาสตร์ ดาไลลามะไม่ได้เป็นเจ้าของชาวทิเบตโดยตรง ขณะที่เขาถูกมองว่าเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในสังคมทิเบต ทุกคนในทิเบตถือว่าอยู่ภายใต้อำนาจของเขา เช่นเดียวกับผู้คนในสหราชอาณาจักรที่อยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์
ขณะที่รัฐบาลทิเบตกล่าวว่า จีนใช้เรื่องนี้เพื่อสร้างความชอบธรรมในการผนวกดินแดนและการกดขี่ชาวทิเบตในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แม้ว่ามาตรฐานการครองชีพของชาวทิเบตจะดีขึ้นอย่างมาก แต่ทิเบตยังคงถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยทางการจีน ซึ่งถูกกล่าวหาว่าก่อความรุนแรงและละเมิดสิทธิมนุษยชน
นอกจากนี้ ยังมีความเชื่อที่ว่าชาวทิเบตหลายพันคนถูกสังหารในช่วงเวลาต่างๆ ของกฎอัยการศึกในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
เพนปา เสริง นักการเมืองชาวทิเบตอ้างโดยไม่มีหลักฐานว่า ‘แหล่งข่าวที่สนับสนุนจีน’ ทำวิดีโอของดาไลลามะให้กลายเป็นไวรัลบนอินเตอร์เน็ต และในมุมของการเมืองมันไม่สามารถเพิกเฉยได้ ขณะที่การตรวจสอบของสำนักข่าว BBC พบว่า กิจกรรมทางออนไลน์ต่างๆ นี้ไม่พบสัญญาณของความไม่ถูกต้อง ซึ่งบ่งชี้ว่าคำวิจารณ์นั้นมาจากแหล่งที่มาที่แท้จริง
นอกจากนี้ยังพบการวิจารณ์ที่มาจากหลากหลายแหล่ง ไม่ว่าจะเป็น ผู้มีอิทธิพลที่สนับสนุนจีน ตลอดจนนักการทูตจีนและสื่อของรัฐมีหน้าที่รับผิดชอบบางส่วน แต่นักวิจารณ์ฝ่ายขวาและผู้ใช้โซเชียลมีเดียที่เกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดเด็กและการใช้แรงงานทาสก็เข้าร่วมการวิจารณ์ด้วย
นักเคลื่อนไหวกล่าวว่า การวิจารณ์ดังกล่าวได้จุดชนวนให้เกิดการข่มเหงชาวทิเบต กลุ่มที่สนับสนุนทิเบต และผู้นำชาวทิเบตพลัดถิ่น นอกจากนี้มันยังบดบังประเด็นสิทธิมนุษยชนมากมายที่นักเคลื่อนไหวพยายามหยิบยกขึ้นมา รวมถึงการบังคับให้หลอรวมทางวัฒนธรรมของเด็กชาวทิเบต
ดาไลลามะเผชิญกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์ในวงกว้าง หลังมีวิดีโอที่เขาให้เด็กชายดูดลิ้นเขาปรากฏขึ้นบนสื่อออนไลน์ และดาไลลามะก็ออกมาแสดงความเสียใจตั้งแต่ช่วงเวลานั้น
- ‘ดาไลลามะ’ แถลงขอโทษ หลังคลิปหลุดว่อนเน็ต ขอจูบ-ดูดลิ้นเด็กชาย
- โซเชียลระอุ! คลิป ‘ดาไลลามะ’ จั๊กจี้ขา ‘เลดี้ กาก้า’ จุดชนวนต่อต้านไม่หยุด
แต่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ยังนำพาไปถึงเรื่องที่กล่าวหาว่า ดาไลลามะมีส่วนรู้เห็นในการ ‘ใช้ทาส’ โดยใช้คำจำกัดความที่มีข้อโต้แย้งอย่างมากโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลจีนซึ่ง นอกจากนี้ ยังมีข้อกังวลว่าดราม่าดาไลลามะนี้จะเป็นการกระตุ้นชาวเน็ตในโลกออนไลน์ให้มีความรู้สึกต่อต้านทิเบต
นักเคลื่อนไหวกล่าวว่า ประเด็นการพูดคุยเรื่องนี้ มีมานานแล้วในโลกออนไลน์ ข้อมูลที่เผยแพร่โดยบัญชีผู้ใช้ที่สนับสนุนจีนในตอนนี้กำลังดึงผู้ชมในวงที่กว้างขึ้น เนื่องจากการโต้เถียงเรื่องวิดีโอนี้ทำให้ทิเบตกลับมาเป็นจุดสนใจของโลกอีกครั้ง
เรื่องเล่า ‘ทาส’
เหล่าผู้ใช้โซเชียลมีเดียหลายคนกำลังถกเถียงกันถึงสภาพความเป็นอยู่ และการไม่มีสิทธิของชาวทิเบต ก่อนที่จะผนวกกับจีนในปี 1950 หลายๆ คนอธิบายว่าสิ่งนี้เป็น ‘ทาส’ และตีกรอบการ ‘ผนวก’ ว่าเป็นการ ‘ปลดปล่อย’ ชาวทิเบต และมองว่าดาไลลามะเป็นผู้สมรู้ร่วมคิด ซึ่งบางโพสต์บอกว่าเขาเป็น ‘ปีศาจ’ และเป็นเจ้าของทาสเหล่านั้นแต่ลักษณะของสังคมทิเบตและการผนวกกับจีน เป็นความขัดแย้งมาช้านาน และสะท้อนสำนวนโวหารของรัฐบาลจีน
จีนส่งเสริมเรื่องเล่าที่บอกว่าตนปลดปล่อย ‘ข้าแผ่นดินและทาส’ จากระบอบการปกครองที่โหดร้าย กำหนดทิศทางของทิเบตบนเส้นทางแห่งความทันสมัย และพัฒนาชีวิตชาวทิเบตอย่างมากมาย นอกจากนี้ยังกล่าวหาดาไลลามะว่าเป็นผู้นำในการก่อจลาจลที่ล้มเหลวในปี 1959 เพื่อรักษาระบบข้าแผ่นดินตามระบอบของพระเจ้า
เหตุการณ์จบลงด้วยการที่จีนเข้ายึดครองทิเบตและสลายสิ่งที่พวกเขากล่าวว่าเป็นระบบศักดินา ในปี 2009 จีนได้กำหนด ‘วันปลดแอกชาวทิเบต’ ประจำปีเพื่อรำลึกถึงวันครบรอบ 50 ปีของการปราบปรามการจลาจล
ในช่วงไม่กี่สัปดาห์มานี้ Global Times สื่อของรัฐของจีนได้ขยายเรื่องราวนี้อีกครั้งโดยนำเสนออินโฟกราฟิกเปรียบเทียบชีวิตก่อนและหลัง ‘การปลดปล่อยอย่างสันติ’ ของทิเบต แม้ว่ารัฐบาลของทิเบตจะโต้แย้งคำว่า ‘ศักดินา’ แต่นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่าสังคมของทิเบตมองว่าผู้คนทำงานในที่ดินของขุนนาง อาราม หรือรัฐ และจ่ายภาษีให้กับพวกเขา
มีการถกเถียงกันว่าจะอธิบายคนเหล่านี้อย่างไร เนื่องจากคำนี้สามารถเป็นได้ทั้ง ‘ข้าแผ่นดิน’ และ ‘ทาส’ แต่ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ไม่ได้มองว่าพวกเขาเป็นทาสที่สามารถซื้อขายได้
“ทิเบตไม่เคยมีคำว่า 'ทาส' คนเหล่านี้ไม่ใช่สินค้า ... มันเหมือนกับความสัมพันธ์แบบ 'ชาวนากับเจ้านาย'” เสริง ชาร์กยา นักประวัติศาสตร์ทิเบตแห่งมหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบียกล่าว
ชาร์กยา กล่าวว่า ตามประวัติศาสตร์ ดาไลลามะไม่ได้เป็นเจ้าของชาวทิเบตโดยตรง ขณะที่เขาถูกมองว่าเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในสังคมทิเบต ทุกคนในทิเบตถือว่าอยู่ภายใต้อำนาจของเขา เช่นเดียวกับผู้คนในสหราชอาณาจักรที่อยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์
ขณะที่รัฐบาลทิเบตกล่าวว่า จีนใช้เรื่องนี้เพื่อสร้างความชอบธรรมในการผนวกดินแดนและการกดขี่ชาวทิเบตในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แม้ว่ามาตรฐานการครองชีพของชาวทิเบตจะดีขึ้นอย่างมาก แต่ทิเบตยังคงถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยทางการจีน ซึ่งถูกกล่าวหาว่าก่อความรุนแรงและละเมิดสิทธิมนุษยชน
นอกจากนี้ ยังมีความเชื่อที่ว่าชาวทิเบตหลายพันคนถูกสังหารในช่วงเวลาต่างๆ ของกฎอัยการศึกในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
ความกังวลเกี่ยวกับการละเมิด
เมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา รัฐบาลทิเบตกล่าวหาจีนว่า ปล่อยโฆษณาชวนเชื่อออกมาเพื่อ ‘ใส่ร้าย’ พวกเขาและดาไลลามะเพนปา เสริง นักการเมืองชาวทิเบตอ้างโดยไม่มีหลักฐานว่า ‘แหล่งข่าวที่สนับสนุนจีน’ ทำวิดีโอของดาไลลามะให้กลายเป็นไวรัลบนอินเตอร์เน็ต และในมุมของการเมืองมันไม่สามารถเพิกเฉยได้ ขณะที่การตรวจสอบของสำนักข่าว BBC พบว่า กิจกรรมทางออนไลน์ต่างๆ นี้ไม่พบสัญญาณของความไม่ถูกต้อง ซึ่งบ่งชี้ว่าคำวิจารณ์นั้นมาจากแหล่งที่มาที่แท้จริง
นอกจากนี้ยังพบการวิจารณ์ที่มาจากหลากหลายแหล่ง ไม่ว่าจะเป็น ผู้มีอิทธิพลที่สนับสนุนจีน ตลอดจนนักการทูตจีนและสื่อของรัฐมีหน้าที่รับผิดชอบบางส่วน แต่นักวิจารณ์ฝ่ายขวาและผู้ใช้โซเชียลมีเดียที่เกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดเด็กและการใช้แรงงานทาสก็เข้าร่วมการวิจารณ์ด้วย
นักเคลื่อนไหวกล่าวว่า การวิจารณ์ดังกล่าวได้จุดชนวนให้เกิดการข่มเหงชาวทิเบต กลุ่มที่สนับสนุนทิเบต และผู้นำชาวทิเบตพลัดถิ่น นอกจากนี้มันยังบดบังประเด็นสิทธิมนุษยชนมากมายที่นักเคลื่อนไหวพยายามหยิบยกขึ้นมา รวมถึงการบังคับให้หลอรวมทางวัฒนธรรมของเด็กชาวทิเบต